1. ที่อุณหภูมิ 70
องศาเซลเซียส
จะเหลือปริมาณสารที่เป็นของแข็งรวมทั้งหมดกี่กรัม
16
32
48
64
2. ถ้าขณะนี้อุณหภูมิอยู่ที่ 30 องศาเซลเซียส
ต้องมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอย่างไร
เพื่อให้เหลือสาร B เพียงชนิดเดียวที่ไม่ละลายน้ำ
เพิ่มอุณหภูมิอีก 95 องศาเซลเซียส
เพิ่มอุณหภูมิอีก
65 องศาเซลเซียส
ลดอุณหภูมิอีก
7.5 องศาเซลเซียส
ลดอุณหภูมิอีก 22.5 องศาเซลเซียส
3. สารละลายน้ำตามกลูโคสเข้มข้น 20%
โดยมวลต่อปริมาตร จำนวน 250 ลูกบาศก์เซนติเมตร
เมื่อตั้งทิ้งไว้ น้ำระเหยไป 50
ลูกบาศก์เซนติเมตร
ถ้าเติมน้ำตาลลงไปอีก 10 กรัม
และเติมน้ำ
ลงไปอีก 200 ลูกบาศก์เซนติเมตร
จงหาความเข้มข้นของสารละลายใหม่ที่ได้
8.5% w/v
15% w/v
24% w/v
50% w/v
4. "โฟมเป็นพลาสติกชนิดหนึ่งที่ไม่ละลายน้ำ
แต่เมื่อสัมผัสกับทินเนอร์ น้ำมันหอมระเหย
หรือน้ำมันที่ร้อนจากของทอดที่พึ่งทอดเสร็จใหม่ๆ
โฟมจะเกิดการละลาย ซึ่งสามารถสังเกต
ได้จากการยุบตัวของโฟมหรือเกิดรูที่โฟมขึ้น"
จากข้อความข้างต้น
ปัจจัยใดส่งผลต่อการละลายของโฟม
ชนิดตัวละลาย และอุณหภูมิ
ชนิดตัวทำละลาย และอุณหภูมิ
ชนิดตัวละลาย และชนิดตัวทำละลาย
ชนิดตัวละลาย ชนิดตัวทำละลาย และอุณหภูมิ
5. ที่อุณหภูมิห้อง น้ำปริมาตร 200
ลูกบาศก์เซนติเมตร ละลายสาร A
ได้ 40 กรัม
หากนำน้ำมาเพียง 50 ลูกบาศก์เซนติเมตร จะสามารถละลายสาร A ได้กี่กรัม ที่อุณหภูมิห้องเดียวกัน
10 g
15 g
20 g
25 g
6. ถ้ามีโซเดียมไนเตรต 91 กรัม และน้ำ 400 ลูกบาศก์เซนติเมตร จะสามารถเตรียมสารละลาย
โซเดียมไนเตรตเข้มข้นร้อยละ 27
โดยมวลต่อปริมาตร จำนวน 350 ลูกบาศก์เซนติเมตร
ได้หรือไม่ อย่างไร
เตรียมได้ โดยใช้โซเดียมไนเตรตหมดพอดี
เตรียมได้
โดยมีโซเดียมไนเตรตเหลือ
เตรียมไม่ได้ เพราะมีน้ำไม่เพียงพอ
เตรียมไม่ได้ เพราะมีโซเดียมไนเตรตไม่เพียงพอ
7. สารละลายอิ่มตัว ณ อุณหภูมิหนึ่งๆ
หากต้องการทำให้ไม่อิ่มตัว ต้องทำอย่างไร
ลดความดันของระบบ
เพิ่มปริมาณตัวถูกละลาย
ลดอุณหภูมิ
เพิ่มอุณหภูมิ
8. ถ้านักเรียนมีกลูโคส 36 กรัม จะสามารถเตรียมสารละลายกลูโคสร้อยละ 8
โดยมวลต่อปริมาตร
ได้มากที่สุดจำนวนกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร
350
400
450
500
9. จากการสังเกตผลการละลายของสารทั้ง 4
ชนิดในน้ำ
และกลายเป็นสารละลายอิ่มตัวดังนี้
1) สาร A ละลายในน้ำเย็นได้ดีกว่าน้ำร้อน
2) สาร B ละลายในน้ำร้อนได้ดีกว่าน้ำเย็น
3) สาร C เมื่อเกิดการละลายจำทำให้สารละลายเย็นตัวลง
4) สาร D เมื่อละลายจะทำให้สารร้อนขึ้น
การละลายของสารชนิดใดเป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน
A , B
B , C
A , C
C
, D
10. นำสาร W
จำนวน 70 กรัม มาละลายน้ำ 150 กรัม ที่ 28 องศาเซลเซียส พบว่าสาร W ละลายไม่หมด
เมื่อกรองตะกอนสาร W ทำให้แห้ง และชั่งตะกอนได้มวล 34 กรัม ถ้านำสาร W จำนวน 170 กรัม
มาละลายน้ำ 500 กรัม ที่อุณหภูมินี้ การละลายจะเป็นอย่างไร
ละลายหมด
แต่สารละลายยังไม่อิ่มตัว
ละลายหมด และสารละลายอิ่มตัวพอดี
ละลายไม่หมด และเหลือสาร W จำนวน 50 กรัม
ละลายไม่หมด และเหลือสาร W จำนวน 70 กรัม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น